Assignment 4

Answer the following questions

  1. What is the age of the oldest living person? What are your sources?
  2. For writing a research paper, find 3 methods for detecting fake images? What are your sources? (Note: You don’t have to understand how they do it.)
  3. If you get an email saying that you will get 1 cent for each person you forward the email to. Can this be true? Why?
  4. Find out about dangers of Dihydrogen Monoxide. What are your sources?

Deadline: 17 Mar 2017

12 thoughts on “Assignment 4

  1. # ข้อ1 #
    คุณทวด ซิโดเมโจ มีอายุ146 ปี
    เป็นคนชาวอินโดนีเชีย เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2413
    แหล่งข้อมูล คือ http://tv.bectero.com/m/program-detail.php?pml=29656 โพสต์เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2560

    # ข้อ2 #
    วิธีที่ 1
    1. เว็บไซต์ errorlevelanalysis.com ที่ช่วยให้คุณสามารถเช็คตรวจสอบภาพต่าง ๆ ได้ว่าภาพนั้นเป็นของปลอมหรือของจริง ซึ่งเป็น web application อีกตัวหนึ่งที่มีประโยชน์ และน่าสนใจ
    2. ตั้ง upload ภาพไปไว้ยัง URL ที่ไหนซักแห่ง เพราะโปรแกรมบนเว็บไซต์นี้สามารถเช็คภาพได้ก็ต่อเมื่อภาพอยู่บน host ของเว็บอื่นเท่านั้น เพราะทางเว็บนี้ไม่อนุญาต upload รูปภาพเข้ามาเก็บไว้บนระบบ
    3. เมื่อคุณใส่ URL ของภาพที่ต้องการแล้วคลิ๊กที่ปุ่ม “Process” และเมื่อคุณลากเมาส์ไปวาง โปรแกรมบนเว็บไซต์นี้ก็จะแสดงออกมาให้เห็นว่า ภาพนั้นร่องรอยการตัดต่อ หรือแต่งเติมใด ๆ หรือไม่
    http://comtips.7boot.com/?p=1934
    วันที่สืบค้น 16/03/17
    วิธีที่2
    1. ให้คุณใช้โปรแกรมท่องเว็บ (Web Browser) อย่าง Google Chrome
    2. ให้คุณไปยังรูปภาพที่คุณต้องการจะตรวจสอบว่า เป็นรูปปลอมหรือรูปตัดต่อ หรืออยากรู้ว่า มีรูปที่เหมือนกับรูปนี้ที่เว็บอื่นหรือไม่?
    3. ให้คูณคลิ้กขวาบนรูปภาพที่คุณต้องการค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมครับ แล้วเลือกที่ “Search Google for this image” ซึ่งเป็นคำสั่งให้ค้นหาภาพนี้จาก Google เมื่อเสร็จแล้ว จะมีหน้าที่แสดงผลการ
    ค้นหาซึ่งวิธีการง่ายๆ แค่นี้ คุณก็จะสามารถทราบได้ว่า
    – ภาพที่คุณได้รับนี้ ผ่านการตัดต่อมาหรือไม่?
    – ภาพที่เห็นนั้นเป็นรูปจากสถานที่ใด? (กรณีเป็นภาพวิวหรือสถานที่ท่องเที่ยว)
    – ภาพที่เห็นนั้นเป็นรูปของใคร? (กรณีเป็นภาพบุคคล)
    – ภาพที่เห็นนั้นเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ไหน เมื่อไหร่? (กรณีเป็นภาพจากข่าวหรือเหตุการณ์ต่างๆ)
    – มีรูปภาพนี้อยู่ที่เว็บไหนบ้าง?
    – ช่วยในการค้นหาภาพอื่นๆ ที่อยู่ในชุดนั้นๆ จากเว็บไซต์อื่นได้
    – ช่วยค้นหาภาพที่ต้องการนี้ ที่มีขนาดไฟล์ใหญ่ขึ้น มีความละเอียดมากขึ้น เพราะบางครั้งรูปที่เราได้มา ผ่านการปรับแต่ง ย่อรูปมาแล้วก็ได้ครับ
    – ช่วยในเรื่องของการเช็ตข้อมูลว่า เนื้อหากับรูปภาพที่
    ข้อ 2 วิธีที่ 2 (ต่อ) ได้รับเป็นเรื่องเดียวกันหรือไม่? (กรณีก่อนหน้านี้ที่ผ่านมา ก็มีเรื่องที่มีการนำรูปเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทำร้ายผู้หญิงใส่ชุดชั้นในสีฟ้า โดยมีบางคนให้ข่าวว่า เป็นตำรวจของไทยทำร้ายกลุ่มผู้ชุมนุม ซึ่งความเป็นจริงแล้วมันเป็นเหตุการณ์ตำรวจในประเทศอียิปต์กำลังเข้าจับกุมผู้ชุมนุม)
    http://www.zcooby.com/how-to-check-fake-image-or-image-search-facebook/
    วันที่สืบค้น 16/03/17
    วิธีที่3
    1. เมื่อเราได้รับข่าวสารที่น่าสงสัยว่าเป็นความจริงหรือไม่ ให้เราทำการดาวน์โหลดรูปภาพนั้น เก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา
    2. เข้าไปที่ images.google.com ซึ่งเป็นเมนูค้นหารูปภาพของ Google จากนั้นกดเลือกที่กล้องถ่ายรูปเพื่อค้นหาด้วยภาพ
    3. คลิกเลือกที่คำว่า “อัพโหลดภาพ”
    4. จากนั้นก็คลิกที่ปุ่มคำว่า “เลือกไฟล์” แล้วเราก็เลือกรูปที่ต้องสงสัยซึ่งดาวน์โหลดเอาไว้แล้ว จากข้อ 1
    5. จากนั้นระบบก็จะทำการค้นหาอย่างรวดเร็ว ว่ามีรูปภาพที่คล้ายกับรูปที่เราอัพโหลดไปหรือไม่
    6. จากนั้นก็จะได้ผลการค้นหาออกมา เราก็สามารถทำการตรวจสอบได้ว่ารูปที่เราสงสัยนั้น มีการนำภาพเก่ามาเล่าใหม่ หรือมีการตัดต่อ เติมแต่ง หรือบิดเบือนความจริงหรือไม่
    7. สำหรับใครใช้สมาร์ทโฟนอาจไม่สามารถทำการอัพโหลดภาพจากเครื่องเพื่อค้นหาภาพได้ ให้เราไปทำการคัดลอก url ของภาพที่เราสงสัยมาก่อน แล้วในขั้นตอนที่ 3 ก็ให้เราเลือกเมนู “วาง url ของภาพ” จากนั้นก็วาง url ของภาพไว้ในช่องค้นหา ระบบของ Google ก็จะทำการค้นหารูปภาพของเราออกมาได้เช่นกัน
    https://www.appdisqus.com/2013/12/01/check-images-by-google.html
    วันที่สืบค้น 1

    # ข้อที่ 3 #
    •เป็นไปได้ ถ้าอีเมล์ที่ส่งมามีการตรวจสอบ แล้วพบว่ามีความน่าเชื่อถือ มีที่ไปที่มา เช่นการกุศลที่ถือเป็นการบริจาคเงิน เป็นต้น
    •แต่อาจเป็นไปไม่ได้ ในกรณีที่อีเมล์ที่ส่งมา มีไวรัส ที่ส่งผลต่อคอมพิวเตอร์ หรือระบบข้อมูลของผู้ใช้ ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตราย หรืออาจดูได้จาก กรณีที่เป็นอีเมล์จากผู้ไม่หวังดีเช่น
    1. ที่อยู่อีเมลของผู้ส่งไม่ตรงกับชื่อของบริษัทที่อีเมลนั้นอ้างว่าเป็นผู้ส่งอีเมล
    2. ข้อความถูกส่งไปยังที่อยู่อีเมลหรือหมายเลขโทรศัพท์ที่แตกต่างไปจากข้อมูลที่คุณเคยแจ้งบริษัทดังกล่าว
    3.ลิงก์มีลักษณะถูกต้องแต่กลับพาคุณไปยังเว็บไซต์ที่ URLไม่ ตรงกับที่อยู่เว็บไซต์บริษัทนั้น
    4.ข้อความดูแตกต่างจากข้อความอื่น ที่คุณเคยได้รับ

    # ข้อที่ 4 #
    Dihydrogen Monoxide เป็นชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ของน้ำ (Water) มีสูตรโมเลกุลคือ H2O หมายความว่าน้ำประกอบด้วยไฮโดรเจน2อะตอม และออกซิเจน1อะตอม อันตรายของน้ำคือ ถ้าดื่มน้ำ1-1.5แกลลอนหรือ16-24แก้วในเวลาประมาณ1ชั่วโมง อาจทำให้เกิดอันตรายในวัยผู้ใหญ่ หรืออาจทำให้เด็กอ่อนเสียชีวิตได้ การดื่มน้ำระหว่างรับประทานอาหารบ่อย ๆ อาจส่งผลต่อระบบการย่อยอาหารทำให้ไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพได้ และถ้าขาดน้ำอาจทำให้เป็นโรคภาวะขาดน้ำหรือดีไฮเดรชัน (Dehydration)ได้ แหล่งข้อมูลที่ค้นหาคือ 25 ประโยชน์ของน้ำ ! วิธีดื่มน้ำอย่างถูกวิธีและโทษของน้ำ ! จากเว็บไซต์ https://medthai.com/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3/

  2. • ข้อ 1
    ลี ชิง ยุน (李清云) ได้ถูกอ้างว่าเป็นมนุษย์ที่มีอายุยืนยาวที่สุดในโลกถึง 256 ปี
    ในปี พ.ศ.2471 หนังสือพิมพ์นิวยอร์ค ไทมส์ ได้เคยเขียนบันทึกผู้สูงวัยซึ่งอยู่เป็นเพื่อบ้านกับนายลี ชิง ยุน ต่างก็ได้ยืนยันตรงกันว่าปู่ของพวกเขารู้จักและเคยเห็นนายลี ชิง ยุน ตั้งแต่ปู่ของพวกเขายังเป็นเด็ก และหลังการเสียชีวิตของนายลี ชิง ยุน ในปี พ.ศ. 2479 นิตยสารไทมส์ และนิวยอร์ค ไทมส์ ได้รายงานว่านายลี ชิง ยุน มีภรรยา 23 คน และมีทายาทกว่า 200 คนเรื่อยมาตลอดระยะเวลา 256 ปี

    แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/AstvWeekend/ViewNews.aspx?NewsID=9550000122439

    •ข้อ 2
    Three Ways To Tell If An Image Is Real Or Fake
    1.ตรวจสอบด้วยตาเปล่า-เราสามารถตรวจสอบได้ว่ารูปภาพนั้นตัดต่อหรือไม่โดยอาศัยการดูองค์ประกอบของภาพต่างๆ เช่น
    การบิดโค้งของวัตถุหรือพื้นผิว ,การปรับระดับแสงให้สว่างหรือมืดเกินไป ,ภาพมีคุณภาพต่าเพื่อปกปิดการตัดต่อ และ ใช้สัญชาตญาณวิเคราห์ดูว่าภาพนี้สมจริงหรือไม่ เป็นต้น
    2. web app
    มีโปรแกรมต่างๆมากมายที่ช่วยเราได้ อย่างเช่น fotoforensics.com ที่บอกเราได้เลยว่ารูปถูกตัดต่อตรงไหน ยังไง อีกตัวหนึ่งคือ Izitru ที่จะบอกแค่ว่ารูปถูกแต่งมาหรือป่าว แต่ไม่ระบุรายละเอียด
    3. A Reverse Google Search
    การหาภาพต้นฉบับจากGoogleเพื่อดูว่าภาพนั้นเป็นภาพที่นำมาตัดต่อเพิ่มเติมหรือไม่
    ที่มาhttp://www.addictivetips.com/web/ways-to-tell-if-an-image-is-real-or-fake/

    •ข้อ 3
    ข้อความเหล่านี้ไม่เป็นจริงเพราะอีเมลเหล่านี้ถูกออกแบบมาเพื่อสร้างแรงจูงใจคล้ายๆกับจดหมายลูกโซ่ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกส่งมาในลักษณะโฆษณา เชิญชวนหรือทำงาน ต่างๆ

    แหล่งที่มาhttps://www.quora.com/Why-do-people-keep-sharing-these-types-of-pics-which-say-that-Facebook-donates-1-for-each-share-etc

    •ข้อ 4
    ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์ (อังกฤษ: dihydrogen monoxide: DHMO) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์หนึ่งของน้ำ ใช้ในการหลอกลวงหรือล้อเลียนทางวิทยาศาสตร์ เพื่อแสดงว่าข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์หรือเพียงด้านเดียวสามารถสร้างความกลัวอย่างผิดๆได้อย่างไร การหลอกลวงนี้เริ่มต้นโดย Eric Lechner, Lars Norpchen และ Matthew Kaufman ในปี พ.ศ. 2532 ปรับปรุงโดย Craig Jackson ในปี พ.ศ. 2537 และเป็นที่กล่าวถึงในปี พ.ศ. 2540 จากการที่ Nathan Zohner วัย 14 ปีสามารถรวบรวมรายชื่อของนักเรียนมัธยมที่ต้องการแบนสารนี้ และสรุปลงในโครงงานที่ชื่อว่า “How Gullible Are We?” (เราโดนหลอกง่ายแค่ไหน?)

    FWD: ระวังสารไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์ (DHMO)
    ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์ เป็นสารที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ทุกๆปีจะมีคนตายด้วยสารนี้เป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะเกิดจากการรับสารนี้เข้าไปในทางเดินหายใจ แต่อันตรายของ DHMO ยังไม่หยุดแค่นั้น การสัมผัสกับสาร DHMO ในสภาวะของแข็งเป็นเวลานานๆทำให้เกิดความเสียหายของเนื้อเยื่อ อาการของผู้ป่วยที่ได้รับสาร DHMO ทางมากเกินไปในทางเดินอาหารมักจะทำให้เหงื่อออกมาก ปัสสาวะมากและรู้สึกคลื่นไส้ อาเจียร สารเคมีในร่างกายไม่สมดุล บางรายพบว่าเกิดอาการท้องร่วง สำหรับผู้ที่ได้รับสารนี้เป็นเวลานานๆ หากขาด DHMO ในฉับพลันจะทำให้ถึงแก่ชีวิต นอกจากนั้นยังพบสาร DHMO ในเนื้อเยื่อที่เป็นมะเร็ง และแผลเรื้อรังของผู้ป่วยทุกคน อันตรายต่อชีวิตจะทวีคูณหากเกิดกับเด็กและคนชรา
    นอกจากนั้นยังมีคุณสมบัติดังนี้
       1. มีส่วนทำให้เกิดปรากฏการณ์ greenhouse effect หรือภาวะโลกร้อน
       2. ทำให้เกิดการกัดกร่อนของดิน
       3. เร่งการผุกร่อนและสนิมในโลหะหลายชนิด
       4. มีส่วนในการเกิดไฟฟ้าลัดวงจร และทำให้ลดประสิทธิภาพการเบรคของรถยนต์
    เนื่องจากคุณสมบัติในการเป็นตัวทำละลายและระบายความร้อนที่ดีเยี่ยม โรงงานอุตสาหกรรมส่วนมากใช้สาร DHMO และเททิ้งออกมาสู่ธรรมชาติโดยไม่มีใครสนใจ เนื่องจาก DHMO เป็น ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ มีหน่วยงานของรัฐบางแห่งเป็นผู้ผลิตสารนี้ ขายสู่โรงงานอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก โดยไม่เปิดให้ประชาชนเห็นสารนี้ได้ในขณะส่งมอบ แม้จะเป็นอันตรายต่อชีวิตมนุษย์ดังกล่าวแล้ว แต่ยังพบในชีวิตประจำวันเป็นอันมาก เช่น
       1. เป็นส่วนประกอบของสารหล่อเย็นในรถยนต์ และโรงงานอุตสาหกรรม
       2. ใช้ในการชำระล้างเครื่องจักร สินค้า ในโรงงานอุตสาหกรรม
       3. มีการค้นพบ DHMO ปนเปื้อน ในขวดเครื่องดื่มทุกยี่ห้อ เนื้อสัตว์ และแม้แต่ผัก ผลไม้หลายชนิดในประเทศไทย

    ที่มา
    https://th.wikipedia.org/wiki/ข่าวลวงเรื่องไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์
    https://www.dek-d.com/board/view/1010795/

  3. ข้อ 1
    เอมม่า มารอนโน อายุ117 ปี
    ที่มา http://m.posttoday.com/world/news/467970
    วันและเวลาที่สืบค้นข้อมูล 15 มีนาคม 2560 เวลา 21.05 น.

    ข้อ 2
    -วิธีที่หนึ่งคือ เราสามารถตรวจโดยหารูปภาพจาก google
    ที่มา http://facebook.maahalai.com/problem/2116/

    -วิธีที่สองคือ เราสามารถวิธีดูค่า EXIF ของรูปภาพ ว่าภาพนั้นถ่ายที่ไหนใช้กล้องอะไรและอื่นๆ โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมช่วยเริ่มจากเข้าไปที่เว็บไซต์ http://regex.info/exif.cgi แล้วคลิกที่ปุ่ม Browse เพื่อเลือกไฟล์ภาพที่เราต้องการอ่านค่า Exif จากนั้นกดที่ View Image From File
    ที่มา http://www.9tana.com/node/exif-viewer/

    -วิธีที่สามคือ ใช้วิจารณญาณ ในการดูข้อมูล สังเกตความสอดคล้องระหว่างข้อมูลและรูปภาพ เราก็จะสามารถวิเคราะห์เบื้องต้นได้ว่ารูปนั้น อาจเป็นรูปที่แท้หรือปลอม

    วันและเวลาที่สืบค้นข้อมูล 15 มีนาคม 2560 เวลา 10.19 น.

    ข้อ 3
    ไม่จริงเนื่องจาก อีเมลล์ในลักษณะนี้เป็นสแปมหรือมัลแวร์ไม่ควรเปิดเข้าไปอ่านหรือกดลิงค์ และดาวน์โหลดไฟล์ต่างๆในอีเมลล์นั้น เพื่อป้องกันการโจรกรรมข้อมูล

    ข้อ 4
    DHMO มีฤทธิ์เร่งการเกิดสนิมในโลหะ และเป็นเหตุให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร มีคุณสมบัติเป็นสารหน่วงปฏิกิริยาการติดไฟ ใช้มากในอุตสาหรรมผลิตโฟมและโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ รวมทั้งกระบวนการผลิตยาฆ่าแมลง แต่ที่น่ากลัวคือ มีรายงานว่าพบสารชนิดนี้ปนเปื้อนในฟาสต์ฟูดและอาหารอื่นๆ อีกหลายชนิด
    ที่มา http://www.satapornbooks.co.th/SPBcommunity/novels_episode/4862/50/ตอนที่-50-อันตราย–ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์/
    วันและเวลาที่สืบค้นข้อมูล 15 มีนาคม 2560 เวลา 20:47 น.

  4. ตอบ

    1. Mbah Gotho ชาวอินโดนีเซีย เป็นบุคคลที่มีอายุยืนที่สุดในโลก โดยเขามีอายุมากถึง 146 ปี เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2413

    แหล่งที่มา http://www.ibtimes.com/worlds-oldest-living-person-wants-die-indonesia-man-turned-146-years-old-2468315

    2. ในการเขียน research papers นั้นสามารถใช้ 3 วิธีดังต่อไปนี้ในการตรวจสอบรูปภาพปลอมได้

    1)กระประเมินทั่วไป(general assessment) เช่น เทคนิคการเขียนภาพและสัดส่วน (perspective & proportion) แสง (lighting) สีและโทนสี (color & tone) การออกแบบ (pattern) เป็นต้น

    2)ใช้งาน website ดังต่อไปนี้ Findexif.com เป็นเครื่องมือออนไลน์ที่ให้บริการฟรีซึ่งคุณสามารถอัพโหลดรูปภาพและได้รับข้อมูลอ้างอิงของรูปภาพนั้น website นี้จะให้ข้อมูลเฉพาะเจาะจงเป็นรายละเอียดทั้งใช้อุปกรณ์ชนิดใดในการถ่าย ลักษณะของรูปภาพ รวมทั้งสถานที่ถ่ายภาพก็สามารถถูกระบุได้เช่นกัน

    แหล่งที่มา:http://www.stopfake.org/en/13-online-tools-that-help-to-verify-the-authenticity-of-a-photo/

    3) ตรวจสอบด้วย website ดังนี้ errorlevelanalysis.com ซึ่งเป็น web application ที่สามารถตรวจสอบได้ว่าภาพนั้นเป็นภาพปลอมหรือไม่

    แหล่งที่มา : http://comtips.7boot.com/?p=1934

    3.ไม่สามารถเป็นจริงได้เนื่องจากไม่มีแหล่งข้อมูลที่ชัดเจนจากข้อความที่ถูกส่งมาเกิดความไม่น่าเชื่อถือของข้อมูลเป็นอย่างมากและไม่สามารถเชื่อถือข้อมูลเหล่านั้นได้ เช่น การได้รับข้อความดังกล่าวเปรียบเสมือนจดหมายลูกโซ่ ซึ่งไม่มีหน่วยงานหรือสถาบันใดยืนยันได้ทางอีเมล์ว่าหากกระทำตามแล้วจะเกิดผลอันเป็นประโยชน์ตามที่ได้อ้างอิงไว้ในข้อความ นอกจากนี้หากกระทำตามอาจก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคลที่สามที่ไม่ทราบตัวบุคคลซึ่งอาจจะเป็นผู้ที่ต้องการผลประโยชน์จากการกระทำของผู้ใช้งานหรือการกระทำตามข้อความดังกล่าวอาจสร้างความเสียหายแก่คอมพิวเตอร์หรืออื่นๆก็ตามที่เป็นผลเสียต่อผู้ใช้งานเองได้

    4. ไฮโดรเจนมอนออกไซด์อันตรายอย่างไร

    1.) การสัมผัสกับสารไฮโดรเจนมอออกไซด์ในสภาวะของแข็งเป็นเวลานานๆทำให้เกิดความเสียหายของเนื้อเยื่อ
    2.) อาการของผู้ป่วยที่ได้รับสารไฮโดรเจนมอนออกไซด์ มากเกินไปในทางเดินอาหารมักจะทำให้เหงื่อออกมาก ปัสสาวะมากและรู้สึกคลื่นไส้ อาเจียร สารเคมีในร่างกายไม่สมดุล บางรายพบว่าเกิดอาการท้องร่วง
    3.) สำหรับผู้ที่ได้รับสารนี้เป็นเวลานานๆ หากขาดไฮโดรเจนมอนออกไซด์ ในฉับพลันจะทำให้ถึงแก่ชีวิต
    4.) นอกจากนั้นยังพบสารไฮโดรเจนมอนออกไซด์ ในเนื้อเยื่อที่เป็นมะเร็ง และแผลเรื้อรังของผู้ป่วยทุกคน อันตรายต่อชีวิตจะทวีคูณหากเกิดกับเด็กและคนชรา

    นอกจากนั้นยังมีคุณสมบัติดังนี้

    1. มีส่วนทำให้เกิดปรากฏการณ์ greenhouse effect หรือภาวะโลกร้อน
    2. ทำให้เกิดการกัดกร่อนของดิน
    3. เร่งการผุกร่อนและสนิมในโลหะหลายชนิด
    4. มีส่วนในการเกิดไฟฟ้าลัดวงจร และทำให้ลดประสิทธิภาพการเบรคของรถยนต์

    แหล่งที่มา http://www.dhmo.org/truth/Dihydrogen-Monoxide.html

    จากที่กล่าวมาในข้างต้นไฮโดรเจนมอนออกไซด์ดูจะเป็นสารที่น่าหวาดกลัวและควรแบนออกจากชีวิตประจำวัน แต่ข้อมูลทั้งหมดนั้นก็เป็นเพียงเรื่องขำขันบนอินเทอร์เน็ตเท่านั้น หากเราลองพิจารณาชื่อของสารเคมีดีๆแล้วจะพบว่า ไฮโดรเจนมอนออกไซด์ คือ “น้ำ” นั่นเอง โดย
    ไดไฮโดรเจน =ไฮโดรเจน2โมเลกุล
    มอนอกไซ = อ๊อกซิเจน1โมเลกุล
    ซึ่งมันก็คือ H2O ที่เป็นน้ำนั่นเอง

    แหล่งที่มา https://www.dek-d.com/board/view/1010795/

  5. (ข้อ1) คุณยายเอมม่า มารอนโน จากประเทศอิตาลี อายุ 117 ปี เกิดวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ.1899 ค้นหาจาก: http://m.posttoday.com/world/news/467970
    สืบค้นเมื่อ : เวลา 21:09 (15/03/2017)
    (ข้อ2) : วิธีการป้องกันภาพตัดต่อ
    1) ใช้โปรเเกรม/เครื่องมือ/เว็ปไซด์บนอินเทอร์เน็ตในการช่วยตรวจสอบ เช่น Findexif.com / Foto Forensics / Google Search by Image สามามารถช่วยอธิบายถึงลักษณะของรูปภาพและรายละเอียดของภาพจากกล้อง (EXIF data) เช่น รูรับเเสง ตำเเหน่งสถานที่ เป็นต้น
    2) ตรวจสอบภาพที่ได้จากช่างถ่ายภาพนั้นๆหรือหาภาพต้นฉบับบจากในอินเทอร์เน็ต เช่น Google
    3)ตรวจสอบกับตัวบุคคลที่เผยเเพร่ภาพดังกล่าว และตรวจสอบเวลา สถานที่ที่ถ่ายภาพนั้น ตรวจดูรายละเอียดขององค์ประกอบที่อยู่ในภาพเบื้องต้น เช่น สภาพอากาศ, สิ่งก่อสร้าง เป็นต้น
    ที่มา : http://www.stopfake.org/en/13-online-tools-that-help-to-verify-the-authenticity-of-a-photo/
    (ข้อ3) ก่อนอื่นเราต้องตรวจสอบอีเมลที่เราได้รับก่อน ว่าผู้ส่งคือใคร เป็นอีเมลจริงของหน่วยงานนั้นๆหรือไม่ หากผู้ส่งไม่เป็นบุคคลหรือหน่วยงานที่เชื่อถือได้ เนื้อหาในอีเมลอาจจะเป็นไวรัสหรือการให้ข่าวปลอมซึ่งอาจส่งผลกระทบในวงกว้างหากเราได้ส่งต่ออีเมลไปให้ผู้รับคนอื่นต่อ นอกจากนี้ การทำธุรกรรมทางการเงินทางอีเมล มักจะมีความปลอดภัยสูง ต้องมีการตรวจสอบหลายขั้นตอนเเละมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ดูเเล ส่วนใหญ่มักจะทำผ่านแอปพลิเคชั่นของหน่วยงานนั้นๆ เพราะฉะนั้นจึงมีความเป็นไปได้ยากที่เราจะได้รับเงินเพียงเเค่ส่งต่ออีเมลไปให้ผู้รับคนอื่นๆ ดังนั้นก่อนจะเชื่อหรือส่งต่อข่าวใดๆเราจึงต้องตรวจสอบความน่าเชื่อถือก่อนส่งต่อ
    (ข้อ4) ไม่มีอันตรายเลย เพราะมันก็คือ น้ำเปล่า (H2O)
    ที่มา: http://www.satapornbooks.co.th/SPBcommunity/novels_episode/4862/50/ตอนที่-50-อันตราย–ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์/
    สืบค้นเมื่อ: 15/03/2017 เวลา 22.03

  6. รูปถ่าย
    เพิ่มเติม
    กล่องหลัก
    Assign 4
    J
    JANG WIJITPRACHA
    ถึง ฉัน
    14 ชั่วโมงที่ผ่านมารายละเอียด
    EGCO 342

    1. What is the age of the oldest living person? What are your sources?
    – Jeanne Calment 122 years, 164 day (https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_the_verified_oldest_people)

    2. For writing a research paper, find 3 methods for detecting fake images? What are your sources? (Note: You don’t have to understand how they do it.)

    – เว็บไซต์ errorlevelanalysis.com ที่ช่วยให้คุณสามารถเช็คตรวจสอบภาพต่าง ๆ ได้ว่าภาพนั้นเป็นของปลอมหรือของจริง (http://comtips.7boot.com/?p=1934)
    – ให้เราคลิกขวาที่รูป ที่เราสงสัย จากนั้นเลือกคำว่า “ค้นหาภาพนี้ใน Google” แล้วระบบก็จะทำการค้นหาในทันที (https://www.appdisqus.com/2013/12/01/check-images-by-google.html)

    3. If you get an email saying that you will get 1 cent for each person you forward the email to. Can this be true? Why?

    -คิดว่าเป็นอีเมลล์ลูกโซ่หรืออีเมลล์หลอกลวง เพราะผู้ส่งอาจจะไม่ได้ระบุชื่อของผู้ส่งจริงซึ่งไม่มีความชัดเจนและความน่าเชื่อถือและผู้ส่งก็ไม่ได้มีข้อมูลที่เป็นช่องทางที่จะส่งเงินให้เรา

    4. Find out about dangers of Dihydrogen Monoxide. What are your sources?

    ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์(dihydrogen monoxide: DHMO) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์หนึ่งของน้ำ ใช้ในการหลอกลวงหรือล้อเลียนทางวิทยาศาสตร์ เพื่อแสดงว่าข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์หรือเพียงด้านเดียวสามารถสร้างความกลัวอย่างผิดๆได้อย่างไร(https://th.wikipedia.org/wiki/ข่าวลวงเรื่องไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์)

    สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2017

  7. 1 Ans. คุณยายเอมม่า มารอนโน จากอิตาลี ฉลองวันเกิดครบรอบ 117 ปี ไปเมื่อวานนี้ เธอเป็นคนที่อายุยืนที่สุดที่ยังมีชีวิตอยู่ และเชื่อว่าเป็นคนเดียวในปัจจุบันที่เกิดก่อนศตวรรษที่ 19
    แหล่งที่สืบค้น : http://www.posttoday.com/world/news/467970
    วันที่สืบค้น : 15 มี.ค. 2560
    2 Ans. มีวิธีดังนี้
    1.ใช้โปรแกรมต่างๆหรือเว็บไซต์ในการตรวจสอบข้อมูลต่างๆของรูปถ่าย รวมทั้งแหล่งที่มาของรูปนั้น
    เช่น Findexif.com , Foto Forensics , Google Search by Image
    2. สอบถามผู้ที่เป็นที่คนอัปโหลดรูปภาพนั้น ว่ารูปภาพนั้นเขาเป็นผู้ทำเองหรือไม่ และตรวจสอบจากการหา
    หารูปภาพที่มีลักษณะคล้ายกัน หรืออยู่ในเหตุการณ์เดียวกัน เพื่อพิสูจน์ภาพว่าเป็นภาพตัดต่อหรือไม่
    3. การตรวจสอบ สถานที่หรือวันที่ถ่ายภาพนั้นมา โดยถามจากช่างภาพ หรือใช้โปรแกรมต่างๆเพื่อดูข้อมูลของรูปภาพนั้น ถ้าหากว่าไม่มีข้อมูลเหล่านี้คุณต้องตรวจสอบรูปภาพอย่างระมัดระวัง
    แหล่งที่สืบค้น : http://www.stopfake.org/en/13-online-tools-that-help-to-verify-the-authenticity-of-a-photo/
    วันที่สืบค้น : 16 มี.ค. 2560
    3 Ans. E-mail ดังกล่าวอาจเป็นไปไม่ได้ เนื่องจากมีโอกาสที่จะเป็นจดหมายลูกโซ่ หลอกลวงหรืออาจเป็นE-mailไวรัส อาจจะเป็นE-mailจากกลุ่มมิจฉาชีพหรือผู้ก่อความวุ่นวาย ดังนั้น เวลาเราได้รับข้อมูลข่าวสารอันใดเราควรไตร่ตรองให้ดี สืบค้นหาต้นตอให้ชัดเจนก่อนว่าข้อมูลดังกล่าวเป็นจริงหรือมีความน่าเชื่อถือมากเพียงใด
    4 Ans. Dihydrogen Monoxide เป็นชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ของน้ำ (water) ดังนั้นจึงไม่มีอันตรายใดๆ เพราะเป็นเรื่องที่อำกันมาว่าเป็นอันตรายจากกลุ่มนักศึกษากลุ่มหนึ่ง และเป็นเรื่องที่อำต่อๆกันมาในวัน April Fools Day ว่า Dihydrogen Monoxide เป็นอันตราย
    แหล่งที่สืบค้น : http://www.satapornbooks.co.th/SPBcommunity/novels_episode/4862/50/%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-50-%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2–%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%AE%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%94%E0%B9%8C/
    วันที่สืบค้น : 15 มี.ค. 2560

  8. What is the age of the oldest living person? What are your sources?
    Ans คุณปู่ Mbah Gotho
    แหล่งที่มา: http://m.posttoday.com/world/news/451108
    สืบค้นวันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 21.16 น.
    For writing a research paper, find 3 methods for detecting fake images? What are your sources? (Note: You don’t have to understand how they do it.)
    ​Ans
    1.) เชื่อในสัญชาตญาณ ถ้ามันดูหลอกๆ มันก็เป็นไปได้ที่จะปลอม เทเรซ่า คอลลิงตัน ผู้อำนวยการฝ่ายดิจิตอลของ WTSP.COM กล่าว เธอเป็นคนที่ช่วยฝึกให้นักข่าวจับผิดสิ่งที่เธอเรียกว่า “Fauxtography” หรือ “ภาพเก๊” ลองดูที่รูปแล้วคิดด้วยตัวคุณเองสิ นี่มันดูดีเกินกว่าจะเป็นจริงหรือไม่ มันถ่ายได้สมบูรณ์แบบเกินไปไหม รู้สึกว่ามีอะไรแปลกๆ หรือเปล่า
    คอลลิงตันกล่าวว่า ถ้าหากภาพถ่ายมันวิเศษมากจริงๆ เช่นเดียวกับภาพเหล่านี้ แล้วไม่ได้อยู่ในหน้าแรกของแหล่งข่าวชั้นนำ คุณต้องฉุกคิดบ้างแล้ว เว็บไซต์ส่วนมากจะนำภาพที่ถ่ายได้สมบูรณ์แบบมาใช้ทันที หากมันไม่มีอยู่ในหน้าแรก เป็นไปได้ว่ามันอาจไม่เป็นจริง
    คอลลิงตันบอกว่า ภาพภัยธรรมชาติมักจะถูกแพร่กระจายไปเร็วมาก เพราะผู้คนตื่นกลัว และความกลัวก็มักจะทำให้ความช่างสงสัยในตัวเราหายไป และมีรูปจำนวนมากที่ยอดเยี่ยม รูปของรถที่จมอยู่บนถนนอเวนิวซีของแมนฮัตตันเป็นของจริง อุโมงค์และสถานีรถไฟใต้ดินที่ถูกน้ำท่วมก็เป็นภาพจริง “มีสิ่งที่ดูไม่น่าเชื่ออยู่มากมาย ดังนั้นในเวลานี้ความรู้สึกน่าเชื่อและไม่น่าเชื่อของคนเรากว้างขึ้นมาก” คอลลิงตันกล่าว เธอบอกอีกว่า ดังนั้นการใช้ความรู้สึกวัดว่าจริงหรือไม่อาจจะผิดพลาดได้ ควรลองใช้เวลาอีกสักนิดในการตรวจเช็คหาความจริง
    2.) ลองดูที่แสง
    ฮานี ฟาริด ผู้เชี่ยวชาญเรื่องภาพตัดต่อจากวิทยาลัยดาร์ทเมาธ์ กล่าวว่า สิ่งที่ปลอมยากที่สุดในรูปถ่ายคือแสง, เงา และการสะท้อน ฟาริดเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท โฟร์แอนด์ซิกส์ เทคโนโลยี ซึ่งเป็นบริษัทให้บริการตรวจสอบสิ่งที่ทำหลอก

    อย่างไรก็ตามฟาริดบอกว่า พายุเป็นสิ่งที่ซับซ้อน “รูปของสภาพอากาศอาจหลอกเราได้ เพราะสิ่งที่พวกเราใช้อย่างเช่น แสง, การสะท้อน และ จุดลับสายตา (vanishing points) กับสิ่งที่ไม่ได้อยู่ในรูป” แต่บางครั้ง แสงก็เป็นเงื่อนงำ
    กล่าวถึงภาพอนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพที่มีเหมือนมีพายุวันโลกาวินาศทำให้เมืองนิวยอร์กซิตี้จมอยู่ใต้น้ำ หากคุณลองมองดูใกล้ๆ แสงที่อยู่บนเมฆ และดูรูปเรือที่อยู่บนฉากหน้าของภาพ คุณจะเห็นอย่างชัดเจนว่าทั้งสองไม่ได้มาจากภาพเดียวกัน
    คอลลิงตันแนะนำว่า ถ้าหากคุณนำสิ่งที่อยู่ที่ฉากหน้าไปเปรียบเทียบกับแสงของฉากหลัง คุณจะเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน
    อย่างไรก็ตามฟาริดบอกว่าขั้นตอนข้อ 1 กับ ข้อ 2 อาจผิดพลาดได้ เพราะสัญชาตญาณเราก็ดีแค่บางเรื่องและทำได้แย่ในบางเรื่อง อีกอย่างหนึ่งที่สัญชาตญาณเราแย่คือการแยกแยะว่าแสงของรูปนี้ถูกตัดต่อหรือไม่ “การใช้สัญชาตญาณวัดภาพทั้งหมดโดยรวมก็อีกเรื่องหนึ่ง แต่เมื่อใช้สัญชาตญาณเราวัดส่วนประกอบของภาพ คนเราทำให้แย่ในเรื่องนี้” ฟาริดกล่าว
    3.) ดูสิ่งที่คนกำลังหรือกำลังสวมใส่ ดูเส้นขอบฟ้าและคุณภาพของรูป​
    ในช่วงสึนามิปี 2004 ในไทยรูปภาพจำนวนมากปรากฏออกมาซึ่งจริงๆ แล้วเป็นภาพที่มาจากปี 2002 ที่ถ่ายจากแม่น้ำเฉียนถังของจีน คอลลิงตันสามารถบอกได้เพราะเส้นขอบฟ้าไม่ใช่ของถูเก็ตที่เกิดเหตุ รวมถึงคุณภาพของรูปด้วย
    คอลลิงตันบอกว่า ถ้าหากคุณภาพของรูปดูเหมือนมาจากฟิล์ม หรือสแกนจากหนังสือพิมพ์ มันก็ดูน่าสงสัย ให้เตือนตัวเองว่าคนส่วนใหญ่มักจะถ่ายภาพจากกล้องสมาร์ทโฟน เว้นแต่พวกเขาเป็นช่างภาพมืออาชีพ ซึ่งก็เป็นในกรณีที่ภาพดูไม่เหมือนมาจากมืออาชีพด้วยแล้ว มันอาจจะเป็นภาพปลอม
    ฟาริดเสริมว่าหากภาพดูเล็กและมีความละเอียดภาพต่ำให้ระวังไว้ “แม้แต่มือถือที่ราคาถูกที่สุดในตอนนี้ก็สามารถถ่ายภาพในระดับเมกกะาพิกเซลได้ สาเหตุที่คนเราจะทำให้ภาพเล็กลงคือการซ่อนการปรับแต่ง”
    ขอให้ดูด้วยว่าสิ่งที่คนกระทำหรือสวมใส่ในภาพคืออะไร ถ้าลองดูรูปที่ถูกบอกว่ามาจากซึนามิปี 2004 จะเห็นว่าคนจำนวนมากในภาพกำลังยิ้มหรือหัวเราะ เพราะว่าน้ำที่โถมเข้าใส่พวกเขาเป็นปรากฏการณ์ที่เรียกว่าคลื่นทะเลหนุน (tidal bore) ซึ่งเป็นคลื่นน้ำปกติที่เป้นแหล่งท่องเที่ยวของจีน ถ้าหากภาพนั้นมาจากซึนามิปี 2001 จริง ผู้คนคงไม่ดูร่าเริงนัก
    แหล่งที่มา: https://prachatai.com/journal/2012/11/43457
    สืบค้นวันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 21.26 น.
    If you get an email saying that you will get 1 cent for each person you forward the email to. Can this be true? Why?
    ​Ans ไม่จริง เพราะ การส่งต่อ (Forward) วิธีการนี้มีลักษณะคล้ายจดหมายลูกโซ่ อาจทำให้เราตกเป็นเครื่องมือของมิจฉาชีพ ที่จะทำการรวบรวมรายชื่ออีเมล์ของเพื่อนฝูงเราไปใช้ประโยชน์ในทางที่ผิด หรือ ตัวเราเองอาจกลายเป็นผู้กระทำผิดตาม พรบ.คอมพิวเตอร์ ไปโดยไม่รู้ตัว ในข้อหา “ส่งต่อข้อมูลข่าวสารอันเป็นเท็จและก่อให้เกิดความเสียหายเดือดร้อนรำคาญกับผู้อื่น”
    Find out about dangers of Dihydrogen Monoxide. What are your sources?
    ​Ans ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์ (Dihydrogen monoxide : DHMO) หรือกรดไฮดรอกซิล (Hydroxyl acid) เป็นสารไม่มีสี ไม่มีกลิ่น เป็นส่วนผสมหลักของฝนกรด และเกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ปรากฏการณ์เรือนกระจก สารชนิดนี้หากถูกผิวหนังอาจก่อให้เกิดแผลไหม้รุนแรง และเป็นอันตรายหากสูดหายใจเข้าสู่ร่างกาย นอกจากนี้ยังมีการตรวจพบสารดังกล่าวในก้อนเนื้อของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลายราย
    DHMO มีฤทธิ์เร่งการเกิดสนิมในโลหะ และเป็นเหตุให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร มีคุณสมบัติเป็นสารหน่วงปฏิกิริยาการติดไฟ ใช้มากในอุตสาหรรมผลิตโฟมและโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ รวมทั้งกระบวนการผลิตยาฆ่าแมลง แต่ที่น่ากลัวคือ มีรายงานว่าพบสารชนิดนี้ปนเปื้อนในฟาสต์ฟูดและอาหารอื่นๆ
    แหล่งที่มา http://www.satapornbooks.co.th/SPBcommunity/novels_episode/4862/50/ตอนที่-50-อันตราย–ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์/
    สืบค้นวันที่ 15 มีนาคา 2560 เวลา 21.34

  9. 1. อายุ146ปี แหล่งข้อมูล : http://globalnews.ca/news/2913684/man-who-claims-to-be-145-years-old-what-i-want-is-to-die/
    2.1. สามารถตรวจได้โดยการเข้าเว็บ erroranalysis.com แล้วนำลิ้งค์urlของรูปที่ต้องการตรวจสอบใส่ลงไป ทางเว็บจะทำการprocessเพื่อดูว่ามีร่องรอยการตัดต่อใดๆหรือไม่
    ข้อมูลจาก
    2.2. เปิดwww.google.com เลือกแท็บรูปภาพ แล้วลากรูปที่ต้องการตรวจสอบไปที่ช่องกรอกคำค้นหา แล้วกดenter กูเกิ้ลจะตรวจสอบรูปภาพว่ามีความใกล้เคียงกับรูปภาพใดบ้าง
    แหล่งข้อมูล : https://support.google.com/websearch/?hl=th#topic=3180360
    2.3. เข้าhttp://www.tineye.com/และอัปโหลดหรือใส่ URL ของรูปภาพดังกล่าว มายัง TinEye จากนั้น ระบบจะทำการค้นหาภาพที่เหมือนกันจากเว็บต่างๆ และแสดงผลลัพธ์ให้กับผู้ใช้งาน
    แหล่งข้อมูล : https://www.thaicert.or.th/papers/general/2013/pa2013ge011.html
    3.เป็นไปไม่ได้ เพราะไม่สามารถตรวจสอบที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ เนื่องจากเลขIP Addressสามารถเปลี่ยนแปลงได้ รวมทั้งอาจเป็นอีเมล์หลอกโดยอาจมีไวรัสฝังมาในอีเมล์
    4.ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์ (อังกฤษ: dihydrogen monoxide: DHMO) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์หนึ่งของน้ำ ใช้ในการหลอกลวงหรือล้อเลียนทางวิทยาศาสตร์ เพื่อแสดงว่าข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์หรือเพียงด้านเดียวสามารถสร้างความกลัวอย่างผิดๆได้อย่างไร การหลอกลวงนี้เริ่มต้นโดย Eric Lechner, Lars Norpchen และ Matthew Kaufman ในปี พ.ศ. 2532 ปรับปรุงโดย Craig Jackson ในปี พ.ศ. 2537 และเป็นที่กล่าวถึงในปี พ.ศ. 2540 จากการที่ Nathan Zohner การหลอกลวงนี้กล่าวถึงผลกระทบด้านลบของน้ำ เช่นการจมน้ำ และ การกัดกร่อน ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์มีความหมายถึงสารที่มีไฮโดรเจนสองอะตอมและออกซิเจนหนึ่งอะตอม (H2O)

    ชื่อทางเคมีอื่น ๆ ที่ถูกใช้เป็นข่าวลวงเช่น กรดไฮดรอกซิล (hydroxyl acid) และ ไฮโดรเจนออกไซด์ (hydrogen oxide) ก็หมายถึงน้ำเช่นกัน
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%AE%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%94%E0%B9%8C

  10. 1.นาย ลี ชิง ยุน ประเทศจีน
    http://www.manager.co.th/AstvWeekend/ViewNews.aspx?NewsID=9550000122439
    สืบค้นเมื่อ 15มีนาคม 2560 เวลา 22.11น.
    2. วิธีที่ 1 สามารถตรวจสอบได้โดยการใช้ เว็บไซต์ errorlevelanalysis.com
    http://comtips.7boot.com/?p=1934
    วิธีที่ 2 เมื่อเราได้รับข่าวสารที่น่าสงสัยว่าเป็นความจริงหรือไม่ ให้เราทำการดาวน์โหลดรูปภาพนั้น เก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา จากนั้นเข้าไปที่ images.google.com ซึ่งเป็นเมนูค้นหารูปภาพของ Google จากนั้นกดเลือกที่กล้องถ่ายรูปเพื่อค้นหาด้วยภาพ คลิกเลือกที่คำว่า “อัพโหลดภาพ” จากนั้นก็คลิกที่ปุ่มคำว่า “เลือกไฟล์” แล้วเราก็เลือกรูปที่ต้องสงสัยซึ่งดาวน์โหลดเอาไว้แล้ว จากนั้นระบบก็จะทำการค้นหาอย่างรวดเร็ว ว่ามีรูปภาพที่คล้ายกับรูปที่เราอัพโหลดไปหรือไม่ จากนั้นก็จะได้ผลการค้นหาออกมา เราก็สามารถทำการตรวจสอบได้ว่ารูปที่เราสงสัยนั้น มีการนำภาพเก่ามาเล่าใหม่ หรือมีการตัดต่อ เติมแต่ง หรือบิดเบือนความจริงหรือไม่
    https://www.appdisqus.com/2013/12/01/check-images-by-google.html
    วิธีที่ 3 ดูสิ่งที่คนกำลังหรือกำลังสวมใส่ ดูเส้นขอบฟ้าและคุณภาพของรูป ค
    อลลิงตันบอกว่า ถ้าหากคุณภาพของรูปดูเหมือนมาจากฟิล์ม หรือสแกนจากหนังสือพิมพ์ มันก็ดูน่าสงสัย ให้เตือนตัวเองว่าคนส่วนใหญ่มักจะถ่ายภาพจากกล้องสมาร์ทโฟน เว้นแต่พวกเขาเป็นช่างภาพมืออาชีพ ซึ่งก็เป็นในกรณีที่ภาพดูไม่เหมือนมาจากมืออาชีพด้วยแล้ว มันอาจจะเป็นภาพปลอม ฟาริดเสริมว่าหากภาพดูเล็กและมีความละเอียดภาพต่ำให้ระวังไว้ “แม้แต่มือถือที่ราคาถูกที่สุดในตอนนี้ก็สามารถถ่ายภาพในระดับเมกกะาพิกเซลได้ สาเหตุที่คนเราจะทำให้ภาพเล็กลงคือการซ่อนการปรับแต่ง”
    https://prachatai.com/journal/2012/11/43457
    สืบค้นเมื่อ 15มีนาคม 2560 เวลา 22.44 น.
    3.ไม่จริง เพราะว่าการกระทำเช่นนี้อาจจะเป็นจดหมายลูกโซ่ เพื่อหลอกให้ผู้อ่านส่งต่อข้อความต่อเป็นทอดๆไปเรื่อยๆไม่มีวันจบ

    4.ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์ เป็นสารที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ทุกๆปีจะมีคนตายด้วยสารนี้เป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะเกิดจากการรับสารนี้เข้าไปในทางเดินหายใจ แต่อันตรายของ DHMO ยังไม่หยุดแค่นั้น การสัมผัสกับสาร DHMO ในสภาวะของแข็งเป็นเวลานานๆทำให้เกิดความเสียหายของเนื้อเยื่อ อาการของผู้ป่วยที่ได้รับสาร DHMO ทางมากเกินไปในทางเดินอาหารมักจะทำให้เหงื่อออกมาก ปัสสาวะมากและรู้สึกคลื่นไส้ อาเจียร สารเคมีในร่างกายไม่สมดุล บางรายพบว่าเกิดอาการท้องร่วง สำหรับผู้ที่ได้รับสารนี้เป็นเวลานานๆ หากขาด DHMO ในฉับพลันจะทำให้ถึงแก่ชีวิต นอกจากนั้นยังพบสาร DHMO ในเนื้อเยื่อที่เป็นมะเร็ง และแผลเรื้อรังของผู้ป่วยทุกคน อันตรายต่อชีวิตจะทวีคูณหากเกิดกับเด็กและคนชรา
    ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์
    ไดไฮโดรเจน=ไฮโดรเจน2โมเลกุล
    มอนอกไซ =อ๊อกซิเจน1โมเลกุล
    ซึ่งมันก็คือH2O ที่เป็นน้ำนั่นเอง
    https://www.dek-d.com/board/view/1010795/
    สืบค้นเมื่อ 15มีนาคม 2560 เวลา 22.53น.

  11. 1. นายเอ็มบาห์ โกโต ชาวอินโดนีเซีย วัย145 ปี บัตรประชาชนระบุวันเกิดคือ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2413
    แหล่งที่มา https://hilight.kapook.com/view/141436
    วันที่สืบค้น 16 ม.ค. 2560
    2. วิธีที่1 ใช้เว็บไซต์ต่างๆในการตรวจสอบรูปภาพเช่น
    Findexif.com ที่สามารถอัพโหลดรูปภาพหรือแหล่งที่มาของรูปภาพแล้วเว็บไซต์จะวิเคราะห์ลักษณะรูปภาพ เวลาและอุปกรณ์ที่ใช้ถ่ายภาพ อาจรวมถึงสถานที่่ที่รูปนั้นถูกถ่ายด้วย
    Foto Forensics เว็บไซต์ที่ใช้วิเคราะห์ระดับความผิดพลาดของข้อมูล โดยหาส่วนของรูปภาพที่ถูกแต่งเติมหรือแก้ไขไปจากเดิม อีกทั้งยังให้ข้อมูลของรูปภาพด้วย
    Google Search by Image และ TinEye เว็บไซต์ที่สามารถอัพโหลดรูปภาพเพื่อหาแหล่งที่มาของรูปนั้น, ที่อื่นๆที่รูปนั้นถูกเผยแพร่ไป, รูปภาพที่ใกล้เคียง และให้สังเกตรูปภาพที่ถูกเผยแพร่ด้วยความละเอียดที่สูงที่สุดรูปนั้นมักเป็นรูปต้นฉบับของจริง
    วิธีที่2 ติดตั้งโปรแกรม JPEGSnoop โดยโปรแกรมนี้สามารถแสดงข้อมูลของรูปภาพและตรวจสอบได้ว่ารูปภาพถูกแก้ไขมาก่อนหรือไม่ นอกจากรูปภาพแล้วโปรแกรมนี้ยังสามารถตรวจสอบไฟล์ AVI, DNG, PDF, THM ได้อีกด้วย แต่โปรแกรมนี้สามารถใช้ได้ในระบบปฏิบัติการแบบWindowsเท่านั้น
    วิธีที่3 ติดต่อผู้ที่เผยแพร่ข้อมูลหรืออัพโหลดรูปภาพนั้นและถามว่าเขาเป็นคนถ่ายรูปนั้นเองใช่หรือไม่ สอบถามข้อมูลของรูปภาพโดยอาจนำไปเปรียบเทียบกับข้อมูลที่ได้จากเว็บไซต์ตรวจสอบรูปภาพ และหากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมในการทำงานก็สามารถถามผู้ถ่ายได้เลย โดยมีเว็บไซต์ที่ใช้ในการหาข้อมูลบุคคลเพื่อที่เราจะสามารถติดต่อเขาได้เช่น Pipl.com, WebMii เป็นต้น
    แหล่งที่มา http://www.stopfake.org/en/13-online-tools-that-help-to-verify-the-authenticity-of-a-photo/
    วันที่สืบค้น 16 ม.ค. 2560
    3. คิดว่าไม่เป็นความจริงเพราะ ไม่มีการขอข้อมูลติดต่อหรือเลขบัญชีของเราเพื่อที่จะส่งเงินมาให้ แต่ทั้งนี้เราก็ต้องตรวจสอบก่อนว่าผู้ส่งหรือผู้ที่จะให้เงินเราเป็นใครมีความน่าเชื่อถือเพียงใด หากเราส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จก็อาจมีความผิดได้
    4. Dihydrogen Monoxide(DHMO) คือชื่อหนึ่งของสารประกอบที่มีออกซิเจน 1 อะตอมและไฮโดรเจน 2 อะตอม ซึ่งสารประกอบนี้ก็คือน้ำนั่นเอง แต่ด้วยการขาดความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ในกลุ่มคนทั่วไปจึงทำให้เกิดการหลอกลวงในอินเตอร์เน็ตขึ้น โดยผู้คนจะเข้าใจผิดจากชื่อสารที่มีคำว่าMonoxideซึ่งเหมือนกับCarbon Monoxideที่เป็นก๊าซพิษจึงเกิดการส่งต่อข้อมูลให้ระวังDHMOนี้โดยในข้อมูลดังกล่าวมักเป็นความจริงแต่กำกวมทำให้เกิดการเข้าใจผิดขึ้น
    แหล่งที่มา http://knowyourmeme.com/memes/dihydrogen-monoxide-hoax
    วันที่สืบค้น 16 ม.ค. 2560

  12. 1.ตอบ 112ปี หาข้อมูลจาก
    แหล่งที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_the_verified_oldest_people
    วันที่สืบค้น 12 มีนาคม 60
    2.ตอบ 1.เช็คด้วยเว็บไซต์ errorlevelanalysis.com
    2.เช็ดข้อมูลรูปภาพEXIF หรือ Exchangeable Image File
    3. ตรวจสอบรูป ด้วย Google Image Search
    หาข้อมูลจาก http://comtips.7boot.com/?p=1934
    http://mblog.manager.co.th/bonkalasin/cxSecrete-in-digital-photo/
    https://hilight.kapook.com/view/63938
    วันที่สืบค้น 12 มีนาคม 60
    3.ตอบ ไม่เป็นจริง เพราะในปัจจุบันมีจดหมายประเภทลูกโซ่ ที่เมื่อส่งต่อจะโชคดี ถ้าไม่ส่งต่อจะเกิดโชคร้ายต่อตนเอง แต่เเท้จริงแล้วการส่งต่ออีเมลแบบนี้อาจทำให้ตกเป็นเครื่องมือมิจฉาชีพได้ หรือตัวเราอาจกลายเป็นผู้กระทำผิดตามพรบ คอมพิวเตอร์ไปโดยไม่รู้ตัว ในข้อหาส่งต่อข้อมูลเป็นเท็จ สร้างความเสียหายให้กับคนอื่น ดังนั้นวิธีที่ดีคืออย่าส่งต่ออีเมลนี้ เพื่อไม่ให้เกิดจดหมายลูกโซ่ต่อไป
    วันที่สืบค้น 12 มีนาคม 60
    4.ตอบ ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์(Dihydrogen monoxide : DHMO) หรือกรดไฮดรอกซิล(Hydroxyl acid) เป็นสารไม่มีสี ไม่มีกลิ่น เป็นส่วนผสมหลักของฝนกรด และเกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ปรากฏการณ์เรือนกระจก สารชนิดนี้หากถูกผิวหนังอาจก่อให้เกิดแผลไหม้รุนแรง และเป็นอันตรายหากสูดหายใจเข้าสู่ร่างกาย นอกจากนี้ยังมีการตรวจพบสารดังกล่าวในก้อนเนื้อของผู้ป่วยมะเร็งหลายราย
    DHMO มีฤทธิ์เร่งการเกิดสนิมในโลหะ และเป็นเหตุให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร มีคุณสมบัติเป็นสารหน่วงปฏิกิริยาการติดไฟ ใช้มากสุดในอุตสาหกรรมผลิตโฟมและโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ รวมทั้งกระบวนการผลิตยาฆ่าแมลง แต่ที่น่ากลัวคือ มีรายงานว่าพบสารชนิดนี้ปนเปื้อนในฟาสต์ฟูดและอาหารอื่นๆอีกหลายชนิด คนส่วนใหญ่รู้จักกันในชื่อ “น้ำ(water)”
    แหล่งที่มาhttp://www.satapornbooks.co.th/SPBcommunity/novels_episode/4862/50/%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-50-%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2–%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%AE%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%94%E0%B9%8C/
    วันที่สืบค้น 12 มีนาคม 60

Leave a Reply